วันพุธที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2561

Wednesday 19 September 2561



ความรู้ที่ได้รับ


วันนี้อาจารย์ได้ให้คำแนะนำในการทำบล็อกที่ถูกต้องค่ะ แล้วก็ให้เพ่ื่อนๆแบ่งกลุ่มออกละเท่าๆกัน แล้วอาจารย์ก็มีงานให้นักศึกษาสรุปกิจกรรมที่ได้รับ

        ซึ่งของดิฉันได้รับกิจกรรมเรื่อง ระฆังดำน้ำจากขวดและเครื่องเป่าฟองสบู่






         และเพื่อนๆก็ต่างตั้งใจทำงานที่ได้รับมอบหมาย*-*






กิจกรรมต่อมาอาจารย์ได้ให้นักศึกษาได้หาฝาน้ำมาค่ะ เพื่อจะได้ประดิษฐ์ของเล่นจากฝาน้ำ






ซึ่งของดิฉันได้ประดิษฐ์เป็นลูกข่างบังคับโดยเชือกค่ะ



อุปกรณ์มีดังนี้ 1.เชือก 2.คัดเตอร์ 3.ฝาน้ำ













ขั้นแรกเราต้องใช้คัดเตอร์ตัดฝาขวดออกเป็นแบบนี้ค่ะ














   
  ขั้นต่อมา เจาะรูตรงฝาขวด 2 รู แล้วร้อยเชือกเข้าไป ก็เสร็จเรียบร้อยค่ะ












แล้วอาจารย์ก็พูดถึงเรื่องของ........กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 

1.วิเคราะห์ข้อมูล
2.ตั้งสมมติฐาน สมมติฐาน
3.ทดลอง ( การสังเกต การรวบรวมข้อมูล ทดลอง ) 
4.สรุปผล ( นำผลไปตรวจสอบกับสมมติฐาน ) 
5.อภิปรายผล แล้วนำมาเสนอค่ะ


ประเมินตนเอง

      วันนี้ตั้งใจเรียน ตั้งใจฟังอาจารย์ค่ะ

ประเมินเพื่อน

     วันนี้เพื่อนๆตั้งใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์ค่ะ

ประเมินอาจารย์

        อาจารย์ให้คำแนะนำ และให้พวกเราไปปรับปรุงค่ะ
         

วันอังคารที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2561

Wednesday 29 August 2561



ความรู้ที่ได้รับ
             
                 
   วันนี้ครูสอบถามรายละเอียดของแต่ละกลุ่ม การจัดประการณ์ทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ( เปลี่ยนแปลงไปตามลำดับขั้นอย่างต่อเนื่อง ) ความสามรถของเด็กที่แสดงออกแต่ละช่วงวัย เราต้องรู้พัฒนาการของเด็ก เพื่อจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็กพัฒนาของเพียเจต์ 4 ช่วง
0-2 ปี ขั้นรับรู้ประสาทสัมผัส
2-4 ปี ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด ใช้ภาษาเป็นของตนเองแต่ยังใช้เหตุผลยังไม่ได้
2-7 ปี ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด ใช้ภาษาด้มากขึ้นผ่านไปถึงขั้นอนุรักษ์ ( conversation )
ขั้นอนุรักษ์ ตัวอย่าง น้ำในแก้ว การที่เด็กตอบตามตาเห็น แต่ถ้าเด็กเห็นเหตุผลจะรู้ว่าเพราะอะไร เด็กถึงจะผ่านขั้นอนุรักษ์ไปได้



คุณครูกับลังสนทนากับนักศึกษา เรื่องรายละเอียดของแต่ละกลุ่มค่ะ


ต่อมาเรียนเรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สสำหรับเด็กปฐมวัย ดร.จินตนา สุขสำราญ
วิทยาศาสตร์ - สิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวเราในชีวิตประจำวัน และยังช่วยอำนวยความสะดวกสบายให้กับเรา


    ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ้


ทักษะที่ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหาเหตุผล แสวงหาความรู้   
1. ความหมายทักษะการสังเกต ทักษะการสังเกต ( Observation ) หมายถึงการใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่ง 1) การสังเกตรูปร่างและลักษณะและคุณสมบัติทั่วไป 2) การสังเกตควบคู่กับการวัดเพื่อทราบปริมาณ 3) การสังเกตเพื่อรู้ถึงการเปลี่ยนแปลง 

2. ความหมายของทักษะการจำแนกประเภท ทักษะการจำแนกประเภท ( Classifying ) หมายถึง ความสามารถในการแบ่งประเภทสิ่งของโดยการหาเกณฑ์ ( Criteria ) 1) ความเหมือน ( Similarities ) 2) ความแตกต่าง ( Differences ) 3) ความสัมพันธ์ร่วม ( Interrelationships ) 

3. ความหมายทักษะการวัด ทักษะการวัด ( Measurement ) หมายถึง การใช้เครื่องมือต่างๆ วัดหาปริมาณของสื่งที่เราต้องการทราบได้อย่างถูกต้อง โดยมีหน่วยกำกับการวัด 1) รู้จักสิ่งของที่จะวัด 2) การเลือกเครื่องมือที่จะนำมาใช้วัด 3) วิธีที่เราจะวัด 

4. ความหมายทักษะการสื่อความหมาย ทักษะการสื่อความหมาย ( Cummunication ) หมายถึง การพูดการเขียน รูปภาพ และท่าทางการแสดงท่าทาง ความสามรถรับข้อมูลได้อย่างถูกต้องและชัดเจน 

5. ความหมายทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล ( Inferring ) หมายถึงการเพิ่มเติมความคิดเห็น ให้กับข้อมูลที่มีอยู่อย่างมีเหตุผล โดยอาศัยความรู้หรือประสบการณ์ 

6. คววามหมายทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา ( Space ) หมาายถึงการเรียนรู้ 1มิติ 2มิติ 3มิติ การเขียนภาพ 2มิติแทนรูป 3มิติ การบอกทิศทางที่เกิดจาดภาพ 3มิติ การเห็นและเข้าใจ ภาพที่เกิดบนกระจกเงา การหาความสัมพันธ์ระหว่าง สเปสกับเวลาสำหรับเด็กปฐมวัย

7. ความหมายทักษะการคำนวณ ทักษะการคำนวณ หมายถึง ความสามารถในการนับจำนวนของวัตถุ 1) การนับจำนวนของวัตถุ 2) การบวก ลบ คูณ หาร 3) การตัวเลขมากำหนด หรือบอกลักษณะต่างๆของวัตถุ



ต่อมาเรื่อง เรียนรู้เรื่อง มาตราฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย มาตราฐานการเรียนรู้ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีวิจารณญาณ และความคิดสร้างสรรค์

สมองกับวิทยาศาสตร์ 1. ตีความข้อมูลที่ได้รับเพื่อทำความเข้าใจ 2. หาเหตุผลเชื่อมโยงสิ่งที่เกิดขึ้น เพื่อสืบค้นความจริง 3.ประเมินคุณค่าของสิ่งต่างๆเพื่อการตัดสินใจ 4. จำแนกองค์ประกอบ เพื่อให้เห็นภาพรวมทั้งหมดของเรื่องนั้น

คุณสมบัติบุคคลที่เอื้อต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1. ความรูความเข้าใจในเรื่องที่จะวิเคราะห์ 2. ช่างสังเกต ช่างสงสัย ช่างไต่ถาม ใช้ 5W 1H 3. ความสามารถในการลงความเห็น 4. ความสามารถในการหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล



เพื่อนๆ กำลังตั้งใจฟังที่อาจารย์สอนค่ะ


องค์ประกอบของการคิดทางวิทยาศาสตร์


1. สิ่งที่กำหนดให้ เป็นสิ่งที่สำเร็จที่กำหนดให้ สังเกต / จำแนก / วัด / สื่อความหมาย / ลงความเห็น / หาความสัมพันธ์ / การลงคำนวณ / เช่น วัตถุ สิ่งของ เรื่องราว เหตุการณ์ หรือ ปรากฎการณ์ต่างๆ
2. หลักการหรือกฎเกณฑ์ เป็นข้อกำหนดสำหรับใช้แยกส่วนประกอบของสิ่งที่กำหนดให้เช่น เกณฑ์ จำแนกสิ่งเหมือนกันหรือต่างกัน เกณฑ์ ในการหาความสัมพันธ์ เชิงเหตุผล ลักษณะความสัมพันธ์ คล้ายคลึงกัน หรือ ขัดแย้งกัน
3. การค้นหาความจริงหรือความสำคํัญ เป็นการพิจารณาส่วนประกอบของสิ่งที่กำหนดให้ ตามหลักเกณฑ์แล้วทำการรวบรวมประเด็นที่สำคัญเพื่อหาข้อสรุป


ประเมินตนเอง

      วันนี้ตั้งใจเรียน ตั้งใจฟังอาจารย์ค่ะ

ประเมินเพื่อน

     วันนี้เพื่อนๆตั้งใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์ค่ะ

ประเมินอาจารย์

        อาจารย์ให้คำแนะนำ และให้พวกเราไปปรับปรุงค่ะ
         






วันอาทิตย์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2561






Name : Arunwadee SriJanda


Nickname : Mama


Identification Namber : 5911200417

Bechelor's degree : Early Childhood


Faculty of Education : Chandrakasem Rajabhat Univercity


Brithday : Friday 8 Ougust 1997


E-mail : K.center2332@hotmail.com


FB : MaMa







Wednesday 22 August 2561


ความรู้ที่ได้รับวันนี้


อาจารย์พูดเกิ่นนำความคิด การเตรียมตัว เตรียมกันระดมความคิดก่อนที่เราจะไป สวนสัตว์เขาดินกัน ในวันที่ 29 สิงหาคมนี้ค่ะ...................................



อาจารย์กำลังมอบหมายงาน



ต่อมาอาจารย์ได้มอบหมายงานให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มกัน แล้วจัดกิจกรรมขึ้นมาให้สอดคล้องกับวิทยาศาสตร์ โดยกลุ่มดิฉันได้จัดกิจกรรม มีชื่อว่า ผจญภัยอะไรเอ่ย...?







ชื่อฐาน ผจญภัยอะไรเอ่ย...?

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้เด็กได้ใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กกับกล้ามเนื้อมัดใหญ่
2.เพื่อให้เด็กเกิดความสนุกสนานกับกิจกรรม และรู้จักควบคุมตนเอง
3.เพื่อให้เด็กรู้จักมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น แลกเปลี่ยนความคิด
4.เพื่อให้เด็กรู้แก้ปัญหา และรู้จักการอ่านคิดวิเคราะห์
5.เพื่อให้เด็กรู้จักลักษณะของสัตว์และชื่อสัตว์

วิธีการ
1.อธิบายการเล่นให้เด็กฟังและแบ่งกลุ่มออกเป็น 2กลุ่ม
2.โดยจะให้เด็กๆทั้ง2กลุ่มเดินไปตามลายทางที่กำหนดให้ แล้วเด็กๆจะพบปริศนาคำทายที่ซ่อนไว้
3.ให้หยิบใบปริศนาคำทายขึ้นมาอ่าน และให้เด็กๆช่วยกันคิดว่าเป็นสัตว์ชนิดใด
4.เมื่อรู้คำตอบแล้ว ให้เด็กไปตามล่าสัตว์ชนิดนั้นแล้วให้เด็กถ่ายรูปมาในเวลาที่กำหนด
5.เด็กๆกลุ่มไหนมาถึงก่อนและถูกต้อง จะมีของรางวัลให้กลุ่มที่ชนะ


ประเมินตนเอง

      วันนี้ตั้งใจเรียน ตั้งใจฟังอาจารย์ค่ะ

ประเมินเพื่อน

     วันนี้เพื่อนๆตั้งใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์ค่ะ

ประเมินอาจารย์

        อาจารย์ให้คำแนะนำ และให้พวกเราไปปรับปรุงค่ะ
         





Wednesday 15 August 2561


ความรู้ที่ได้รับ 



วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษา แบ่งกลุ่มเขียนแผนผังความคิด เรื่อง สวนสัตว์เขาดิน




นี่เป็นแผนผังความคิดของกลุ่มดิฉัน


แล้วอาจารย์ก็ให้พวกเรานำไปติดด้านหลัง แล้วาจารย์ก็ประเมินแต่ละกลุ่ม แล้วอาจารย์ก็ให่พวกเราร่วมประเมินด้วย โดยการให้คะแนนแต่ละกลุ่ม โดยที่ไม่ต้องให้คะแนนกลุ่มตัวเอง




นี่ก็เป็นแผนผังความคิดแต่ละกลุ่มค่ะ



ต่อมาอาจารย์ก็ให้นักศึกษาร่วมออกแสดงความคิดเห็นว่า สวนสัตว์เขาดินมีอะไรบ้างเกี่ยววิทยาศาสตร์ สุดท้ายอาจารย์ก็ให้พวกเราทำกิจกรรม ภาษาอังกฤษค่ะ




 -----คำศัพท์-----

1. Zoo แปลวว่า สวนสัตว์
2. Animal แปลว่า สัตว์
3. Environment แปลว่า สิ่งแวดล้อม
4. Energy แปลว่า พลังงาน
5. Slider แปลว่า สไลเดอร์
6. Park แปลว่า สวนสาธารณะ
7. Activity  แปลว่า กิจกรรม
8. Flower แปลว่า ดอกไม้
9. Lion แปลว่า สิงโต
10. Place แปลว่าสถานที่
11. Sun แปลว่า พระอาทิตย์
12. Try แปลว่า เหนื่อย



ประเมินตนเอง

      วันนี้ตั้งใจเรียน ตั้งใจฟังอาจารย์ค่ะ

ประเมินเพื่อน

     วันนี้เพื่อนๆตั้งใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์ค่ะ

ประเมินอาจารย์

        อาจารย์ให้คำแนะนำ และให้พวกเราไปปรับปรุงค่ะ